เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Main




Mind mapping




Big  Question : น้ำพริก มีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ของผู้คนและสิ่งอื่นอย่างไร?
เป้าหมาย(Understanding Goal):
เข้าใจและสามารถบอกประโยชน์  ความสำคัญของน้ำพริกที่มีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตและสิ่งอื่น รวมทั้งสามารถตำน้ำพริก คิดค้นสูตรน้ำพริก  ออกแบบและวางแผนการกินของตนเองได้อย่างเหมาะสม
ภูมิหลังของปัญหา : พฤติกรรมการบริโภคอาหารในปัจจุบันของคนไทย ไม่ได้คำนึงถึงการมีสขภาพที่ดี ขาดการพิถีพิถันในการเลือกรับประทาน ต้องการเพียงความสะดวกสบายจึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่เลือกรับประทานอาหารสำเร็จรูปเพื่อเป็นการประหยัดเวลา และนำมาซึ่งขาดการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับคนในครอบครัว ไม่มีเวลารับประทานอาหารร่วมกัน ด้วยหน้าที่การงานทำให้ไม่มีเวลาปลูกพืชผักสวนครัวหรือประกอบอาหารรับประทานเอง และความสะดวกที่สนองความต้องการของคนในปัจจุบันคืออาหารหลายๆอย่างรวมถึงอาหารพื้นบ้านอย่างน้ำพริก ถูกนำมาแปรรูปเพื่อให้สะดวกต่อการรับประทานแต่ผู้ประกอบการบางรายอาจไม่ได้คำนึงถึงความปลอดภัยต่อผู้บริโภค อาหารบางอย่างมีสารอันตรายปนเปื้อนด้วยความต้องการที่อยากให้อาหารเก็บไว้ได้นานหรือมาจากปัจจัยอื่นที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ แม้แต่การปลูกพริกยังต้องใส่สารเร่งการเจริญเติบโตเพื่อให้ได้ผลผลิตทันเวลาจำหน่ายและมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค ดังนั้นในปัจจุบันผู้บริโภคไม่สามารถมั่นใจได้เลยว่าอาหารตามท้องตลาดจะมีความปลอดภัย การรู้จักเลือกรับประทานอาหาร หรือการประกอบอาหารรับประทานเองจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ผู้บริโภคในปัจจุบันจะสมารถทำได้เพื่อดูแลสุขภาพของตนเอง พี่ ป.3 จึงเรียนรู้วิธีการประกอบอาหารตำน้ำพริกรับประทานเองควบคู่ไปกับการรับประทานผักที่ปลูกไว้รับประทานเอง


สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
น้ำพริกเป็นอาหารไทยประเภทเครื่องจิ้ม
รู้ว่าน้ำพริกต้องกินกับผัก
พริกต้องปลูกกลางแจ้ง
รู้ว่าส่วนผสมในการทำน้ำพริกก็ต้องมีพริก
พริกแต่ละชนิดมีความเผ็ดแตกต่างกัน
น้ำพริกทำได้ทั้งเปียกและแห้ง
รู้ว่าพริกมีหลายสี เช่น แดง เขียว ส้ม เหลือง
รู้ว่าพริกใช้ทำอาหารเผ็ดได้
รู้ว่าเผ็ดไม่ใช่รสชาติ
ปลูกพริกไม่ใช้สารเคมี
พริกเป็นสมุนไพร
พริกทำให้เจริญอาหาร
กะปิสามารถทำน้ำพริกได้
น้ำพริกสามารถทำเป็นสินค้าได้
น้ำพริกโจรเป็นของภาคใต้
รู้ว่าพริกเป็นผัก
รู้วิธีทำน้ำพริกป่น
ไส้ของพริกให้ความเผ็ด
น้ำพริกเป็นเมนูประจำบ้าน
รู้ว่าทุกภาคมีน้ำพริกเป็นของตัวเอง
รู้ว่าพริกหวานไม่เผ็ดมาก
ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำเป็นสำนวนของไทย
รู้ว่าพริกก็เผ็ด
รู้ว่ามีประเทศที่กินน้ำพริกเหมือนเรา
น้ำพริกมีกี่ชนิด/กี่ประเภท
น้ำพริกจะนำมาทำของหวานอย่างไร
แต่ละภาคนิยมกินน้ำพริกอย่างไร
จะปรุงรสน้ำพริกให้อร่อยได้อย่างไร
ส่วนประกอบน้ำพริกนรกมีอะไรบ้าง
วิธีการน้ำพริกมีวิธีการอย่างไร
เครื่องจิ้ม เครื่องเคียงน้ำพริกมีอะไรบ้าง
น้ำพริกมีความเป็นมา (ประวัติ)อย่างไร
น้ำพริกมีชื่ออะไรบ้าง มีวิธีทำอย่างไร
น้ำพริกมีประโยชน์และโทษอย่างไร
ความเผ็ดของพริกเรียกว่าอะไร
น้ำพริกกับอาหารอื่นๆต่างกันอย่างไร
น้ำพริกเผามีวิธีการทำอย่างไร
จะนำน้ำพริกไปกินกับอาหารอื่นๆอย่างไร
จะประยุกต์น้ำพริกเป็นของว่างได้อย่างไร
จะทำบรรจุภัณฑ์บรรจุน้ำพริกอย่างไร
น้ำพริกแต่ละชนิดใช้พริกอะไรบ้าง
อะไรที่เผ็ดเหมือนพริกบ้าง
จะเก็บน้ำพริกให้อยู่นานได้อย่างไร
น้ำพริกคืออะไร
ทำน้ำพริกขี้กาอย่างไร
พริกอะไรเผ็ดที่สุด/ส่วนไหนของพริกที่ให้ความเผ็ด
พริกทำอะไรได้บ้าง/มีกี่ชนิด
นำกุ้งสดมาทำน้ำพริกได้อย่างไร
ชาติใดที่รับประทานน้ำพริกอย่างเราบ้าง
น้ำพริกแมงดาทำอย่างไร
ธรรมชาติกับน้ำพริกเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร
น้ำพริกจะทำให้ไม่เผ็ดได้อย่างไร/พริกอะไรบ้างที่ไม่เผ็ด
น้ำพริกมีความสำคัญกับภูมิภาคต่างๆ(ไทย)อย่างไร
น้ำพริกสำคัญและเกี่ยวข้องกับเราอย่างไร
วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับน้ำพริกอย่างไร



ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Base Learning)
หน่วย : “น้ำพริก   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2/2559
Week
Input
Process
Output
Outcome









1
โจทย์ :
วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรบ้าง เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Think Pair Share
- Blackboard Share
- Mind Mapping
- Show and Share
- Wall Thinking

สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน (จัดบรรยากาศครัวไทยสมัยก่อน)
-วีดีโอเพลง “กินข้าวกับน้ำพริก”
-น้ำพริก
-อุปกรณ์ในการทำแปลงผัก
-พริกสำหรับปลูก
กิจกรรม
-การสร้างแรงบันดาลใจกระตุ้นให้เกิดความอยากเรียนรู้ -เรียนรู้เกี่ยวกับการทานน้ำพริกและร่วมกันวิเคราะห์ผ่านบทเพลง “กินข้าวกับน้ำพริก”







-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนรู้จักน้ำพริกอะไรบ้าง?
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-ให้นักเรียนชิมน้ำพริกที่หลากหลาย ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด“รสชาติของน้ำพริกเป็นอย่างไร? ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง?
- ปลูกพริก พร้อมกับทำแปลงผักสวนครัว

- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- องค์ความรู้ก่อนเรียนรู้ Mind Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับชื่อหน่วยการเรียนรู้
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้
-การปลูกพริก
ชิ้นงาน
- วาดภาพตกแต่งชื่อหน่วยการเรียนรู้
เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
-   เข้าใจ สามารถพูดอธิบายตั้งคำถาม แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจตลอดจนสามารถเลือกสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
-   เข้าใจและสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกันได้อย่างเป็นขั้นตอน มีเป้าหมาย และสร้างสรรค์
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ









2
โจทย์ :
ชนิดของพริก
Key Questions :
-  -นักเรียนรู้จักพริกชนิดใดบ้าง?
- นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ในเรื่องนี้อย่างไรบ้าง?
-เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Blackboard Share
-  Round Robin
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
-
สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน (จัดบรรยากาศครัวไทยสมัยก่อน)
- วัตถุดิบ(พริกชนิดต่างๆ)
-น้ำพริกหนุ่ม
-หนัง “พริกแกง”
กิจกรรม
-ชิมน้ำพริกหนุ่ม ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด
    -รสชาติเป็นอย่างไร
    -มีวัตถุดิบอะไรบ้าง?
    -น่าจะเป็นพริกชนิดใด เพราะอะไร?
- นักเรียนสังเกตพริกที่ครูนำมาและบอกความแตกต่างของพริกแต่ละแบบ เช่น สี รูปร่าง ขนาด
-ชิมพริกที่เป็นลูกชุบกับพริกที่เป็นของจริง
-ดูหนัง “พริกแกง”
- วางแผนปฏิทินการเรียนรู้ร่วมกัน
- นำเสนอปฏิทินของกลุ่ม
-นักเรียนนำเสนอพืชผักสวนครัวที่ตัวเองปลูกในช่วงปิด Quarter
-นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่มตามภูมิภาคของประเทศไทย (ภาคเหนือ อีสาน กลาง ใต้)
-นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับน้ำพริก (Flip classroom)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์





ภาระงาน
-เรียนรู้ลักษณะของพริกแต่ละสายพันธุ์
-บอกความแตกต่างของพริกแต่ละสายพันธุ์
-จำแนกชนิดของพริกจากการสังเกต
ชิ้นงาน
-ชาร์ต ความแตกต่างของพริกแต่ละสายพันธุ์
-ชาร์ต ความรู้การปลูกพริกและพืชผักสวนครัว
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
-เข้าใจและสามารถจำแนกความแตกต่างของพริกแต่ละชนิด
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
เคารพตนเอง  และผู้อื่น











3
โจทย์ :
วัตถุดิบในการทำน้ำพริก กระบวนการทำน้ำพริกภาคเหนือ อีสาน กลาง ใต้
Key Questions :
-นักเรียนจะทำน้ำพริกให้อร่อยและน่ารับประทานได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน (จัดบรรยากาศครัวไทยสมัยก่อน)
-น้ำพริก
-อุปกรณ์ในการตำน้ำพริก(ครก สาก)
-เครื่องปรุง
กิจกรรม
-นักเรียนชิมน้ำพริกของแต่ละภาค
-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “รสชาติของน้ำพริกเป็นอย่างไร/รสชาตินั้นเกิดจากส่วนผสมอะไร?
-ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “จากการสืบค้นข้อมูล นักเรียนได้รู้จักน้ำพริกชนิดใดเพิ่มเติมบ้าง?
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-นักเรียนแต่ละกลุ่มจดรายการเมนูน้ำพริกของแต่ละภาคที่กลุ่มตัวเองรู้จัก และเลือก 1 เมนู เพื่อจะทำในวันถัดไป
-แต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ภายในกลุ่มว่าในน้ำพริกที่เลือกมานั้นมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
-ภายในกลุ่มแบ่งหน้าที่กันเพื่อเตรียมวัตถุดิบในการทำน้ำพริกมาทำในวันถัดไป พร้อมทั้งวางแผนกำหนดอัตราส่วนของส่วนผสม
-แต่ละกลุ่มทำเมนูน้ำพริกที่ได้เลือกแล้ว และแลกเปลี่ยนให้กลุ่มอื่นชิม
-แต่ละกลุ่มเลือกเมนูน้ำพริกเมนูที่ 2 และแบ่งกันนำวัตถุดิบมาเพิ่มพร้อมทั้งวางแผนกำหนดอัตราส่วนของส่วนผสม
-แต่ละกลุ่มทำน้ำพริกจากวัตถุดิบที่เตรียมมา และแลกปลี่ยนให้กลุ่มอื่นชิม
-แต่ละกลุ่มเลือกน้ำพริกเมนูที่ 3 และแบ่งกันนำวัตถุดิบมาเพิ่มพร้อมทั้งวางแผนกำหนดอัตราส่วนของส่วนผสม
-แต่ละกลุ่มทำน้ำพริกจากวัตถุดิบที่เตรียมมาและแลกเปลี่ยนให้กลุ่มอื่นชิม
-นักเรียนสรุปความเข้าใจกกระบวนการทำน้ำพริกของแต่ละกลุ่มผ่านการทำชาร์ตความรู้
-ให้แต่ละกลุ่มเลือกเมนูน้ำพริก1 เมนู จากเมนูที่กลุ่มตัวเองได้ทำ
-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะปรับปรุงและพัฒนาน้ำพริกของกลุ่มตนเองอย่างไรให้น่ารับประทานและรสชาติดียิ่งขึ้น?” (โดยพัฒนาเมนูน้ำพริกที่แต่ละกลุ่มเลือก)
-นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งกันนำวัตถุดิบมาเพิ่ม
-นักเรียนสืบค้นข้อมูลในการทำน้ำพริกให้อร่อยจากจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย (Flip classroom)
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-ระดมความคิดภายในกลุ่ม
-เตรียมส่วนผสมในการทำน้ำพริก
-ทำน้ำพริก
ชิ้นงาน
-น้ำพริก 4 ภาค
-การ์ตูนช่องการทำน้ำพริก
-   สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
-เข้าใจและสามารถอธิบายขั้นตอนในการทำน้ำพริก การออกแรงตำน้ำพริก ความสัมพันธ์ของครกกับสาก
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร

คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
เคารพตนเอง  และผู้อื่น










4
โจทย์ :
การปรับปรุงและพัฒนาน้ำพริกให้อร่อย
 Key Questions :
-        -นักเรียน  คิดว่าเพราะเหตุใดน้ำพริกแต่ละภาคจึงมีความแตกต่างกัน?
                                  
เครื่องมือคิด :
-  Brain Storms
- Show and Share
- Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:

สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน (จัดบรรยากาศครัวไทยสมัยก่อน)
-น้ำพริก
-อุปกรณ์ในการตำน้ำพริก(ครก สาก)
-เครื่องปรุง
กิจกรรม
-          นักเรียนแต่ละกลุ่มทำน้ำพริก โดยใช้วัตถุดิบที่เตรียมมา
-          แต่ละกลุ่ม นำน้ำพริกไปให้บุคคลอื่นชิม ที่นอกเหนือจากเพื่อนในห้อง
-          แต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกัน จากคำแนะนำของครูที่ได้ชิม เพื่อนำคำแนะนำไปปรับปรุงสูตรในการทำน้ำพริก
-          ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันถึงปัญหาของความไม่อร่อย วิธีการแก้ปัญหาในครั้งถัดไป
-          แต่ละกลุ่มทำน้ำพริกชนิดเดิม แต่เพิ่มวิธีการแก้ปัญหา และให้คุณครู หรือบุคคลอื่นร่วมชิม
-          แต่ละกลุ่มได้สูตรการทำน้ำพริกที่อร่อยที่สุดสำหรับกลุ่มของตัวเอง
-          แต่ละกลุ่มนำเสนอสูตรการทำน้ำพริกที่อร่อยที่สุด ให้ครูและเพื่อนกลุ่มอื่นได้ฟัง
-          ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “น้ำพริกที่นักเรียนทำ
สามารถนำไปรับประทานกับเครื่องเคียงอะไรได้บ้าง?” (Flip classroom)
-          สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
-ตำน้ำพริก (ตามกลุ่มที่เรียนรู้ ภาคเหนือ อีสาน กลาง ใต้)
-ชิมน้ำพริก
-ปรับปรุงรสชาติ ปรับปรุงสูตรน้ำพริกของแต่ละกลุ่ม
ชิ้นงาน
-น้ำพริก (ตามกลุ่มที่เรียนรู้
-ชาร์ทความรู้น้ำพริก 4 ภาค
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
-เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างของน้ำพริกแต่ละประเภท

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร

คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
เคารพตนเอง  และผู้อื่น











5
โจทย์ 
การรับประทานน้ำพริกกับเครื่องเคียงชนิดต่างๆ
ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ
Key Question :
-นักเรียนจะรับประทานน้ำพริกอย่างไรให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกาย?
-นักเรียนจะทำน้ำพริกอย่างไรให้เป็นที่ชื่นชอบของบุคคลอื่น?
เครื่องมือคิด :
-Show and Share
-Brain storms

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 -
สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน (จัดบรรยากาศครัวไทยสมัยก่อน)
-เครื่องเคียง (ผักกาดขาว แตงกวา)
-น้ำพริก
-อุปกรณ์ในการตำน้ำพริก(ครก สาก)
-เครื่องปรุง
กิจกรรม
-จากการสืบค้นข้อมูล “น้ำพริกที่นักเรียนทำสามารถนำไปทานกับเครื่องเคียงอะไรได้บ้าง?
-ทำไมต้องทานกับเครื่องชนิดนั้น
-แล้วทานกับอย่างอื่นได้ไหม/ทานกับอะไรได้อีกบ้าง”
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-แต่ละกลุ่มเตรียมเครื่องเคียงที่เลือกมาทานกับน้ำพริก
-นักเรียนแต่ละกลุ่มทำน้ำพริกของกลุ่มตัวเองพร้อมกับเครื่องเคียงที่เลือกแล้ว และจัดจานน้ำพริกให้สวยงาม
-แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนกันชิมน้ำพริก และให้คุณครูชิม
-แต่ละกลุ่มเลือกเครื่องเคียงชนิดอื่นมาทานกับน้ำพริก
-แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนกันชิมน้ำพริก และให้คุณครูชิม
-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “น้ำพริกของนักเรียนที่ทานกับเครื่องเคียงชนิดอื่นแล้วเป็นอย่างไร?
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
-   -ทำน้ำพริก
   -จำแนกสารอาหาร 5 หมู่ที่ได้รับจากน้ำพริก
- เลือกเครื่องคียงที่รับประทานกับน้ำพริกแต่ละชนิดอย่างเหมาะสม

ชิ้นงาน
-ชาร์ท สารอาหารที่ได้รับจากการทานน้ำพริก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเครื่องเคียงสำหรับทานกับน้ำพริกได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร

คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่ม
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
เคารพตนเอง  และผู้อื่น











6
โจทย์ :
ข้าวกับการประยุกต์เมนูน้ำพริก
Key Question :
-นักเรียนจะนำน้ำพริกไปประยุกต์เพื่อทานกับข้าวอย่างไรให้เหมาะสม?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Show and Share
- Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
 - ครู
 - นักเรียน

สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน (จัดบรรยากาศครัวไทยสมัยก่อน)
-ข้าว
-น้ำพริก
-อุปกรณ์ในการตำน้ำพริก(ครก สาก)



-ครูมีข้าว ให้ 2 ชนิด ข้าวจ้าวกับข้าวหนียว
-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะนำข้าวไปประยุกต์ให้สามารถทานได้กับน้ำพริกได้อย่างไร?
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันออกแบบและวางแผน เมนูข้าวกับน้ำพริก และแบ่งกันเตรียมวัตถุดิบเพิ่มเติมจากที่มีอยู่
- นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทำเมนูที่ได้เลือกไว้แล้ว
- แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนกันชิม และให้คุณครูชิม
-แต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันเพื่อปรับปรุงรสชาติให้อร่อยยิ่งขึ้น
-แต่ละกลุ่มปรับปรุงรสชาติเมนูข้าวกับน้ำพริก และให้เพื่อนๆและครูได้ชิม
-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะนำวัตถุดิบอื่นนอกจากข้าวมาทำอาหารกับน้ำพริกได้อย่างไร?/สามารถนำอะไรมาทำได้บ้าง?
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-แต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับเมนูน้ำพริกใหม่ และแบ่งกันเตรียมวัตถุดิบมาทำเมนูที่กลุ่มเลือก
-นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทำอาหารที่เลือกไว้
-แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนกันชิมอาหารและให้คุณครูชิม
-ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันถึงรสชาติอาหาร
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นอกจากเมนูอาหารที่นักเรียนได้ทำแล้วสามารถนำน้ำพริกไปประยุกต์ทำเมนูอะไรได้อีกบ้าง?/นักเรียนจะสามารถทำอาหารว่างจากน้ำพริก เมนูใดได้บ้าง?
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-นักเรียนทำอาหารว่างมาให้เพื่อนชิม (Flip classroom)

ภาระงาน
-ร่วมแสดงความคิดเห็นเมนูข้าวกับน้ำพริก
-เตรียมวัตถุดิบในการทำน้ำพริก
-ทำอาหารจากน้ำพริกกับข้าว
-ชิมเมนูน้ำพริก
ชิ้นงาน
-ข้าวผัดน้ำพริก
-ข้าวจี่น้ำพริก
ความรู้
เข้าใจและสามารถประยุกต์เมนูน้ำพริกกับข้าวได้อย่างเหมาะสม

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่ของตนเอง








7
โจทย์ :
อาหารว่างจากน้ำพริก
Key Question :
นักเรียนจะประยุกต์เมนูน้ำพริกเป็นอาหารว่างให้น่ารับประทานได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Round Robin
- Show and Share
- Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
-
สื่อ/อุปกรณ์ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน (จัดบรรยากาศครัวไทยสมัยก่อน)
-น้ำพริก
-อุปกรณ์ในการตำน้ำพริก(ครก สาก)
-เครื่องปรุง


กิจกรรม
-ครูและนักเรียนชิมอาหารว่างที่แต่ละคนเตรียมมา
-ครูนำอาหารว่าง (แครกเกอร์ ขนมปัง ข้าวเกรียบ ข้าวตัง ข้าวแต๋น)
-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะใช้วัตถุดิบเหล่านี้ไปใช้ทำเมนูอะไรได้บ้าง?
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายและเลือกเมนูอาหารว่างที่จะทำ
-แต่ละกลุ่มลงมือทำเมนูที่เลือกไว้แล้ว
-ครูและนักเรียนชิมอาหารว่าง

ภาระงาน
-ชิมอาหารว่างจากน้ำพริก
-แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเมนูอาหารว่างจากน้ำพริก
-ทำอาหารว่างจากน้ำพริก
ชิ้นงาน
ประยุกต์น้ำพริกเป็นของว่าง
-แครกเกอร์น้ำพริกปลาทู
-ซาลาเปาไส้น้ำพริก
-ข้าวตังหน้าน้ำพริก
 -ข้าวแต๋นหน้าน้ำพริก
-แซนวิสน้ำพริก
-ข้าวผัดน้ำพริกต่างๆ
-    สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถประยุกต์เมนูน้ำพริกเพื่อเป็นอาหารว่าง
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
เคารพ เห็นคุณค่า ของตนเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ
มีการทำงานเป็นขั้นตอนและรับผิดชอบ ใส่ใจในหน้าที่ของตนเอง












8
























โจทย์ :
การประกอบการจากการประยุกต์เมนูน้ำพริกการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม และการเก็บน้ำพริกให้ได้นาน

Key Questions :
-นักเรียนจะออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ของตัวเองให้เหมาะสมได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin
- Card and Chart  
- Show and Share
- Mind Mapping
- Wall Thinking


ผู้ร่วมสร้างการเรียน :
-     -

บรรยากาศ/สื่อ :
- บรรจุภัณฑ์ชนิดต่างๆ
บรรยากาศภายในห้องเรียน (จัดบรรยากาศครัวไทยสมัยก่อน)
-อุปกรณ์ในการตำน้ำพริก(ครก สาก)
-เครื่องปรุง

-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ของตัวเองอย่างไรให้เหมาะสม?
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-ครูนำผลิตภัณฑ์หลากหลายแบบให้นักเรียนได้สังเกต
-ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์บรรจุภัณฑ์ ผ่านคำถาม
   -บรรจุภัณฑ์แต่ละแบบเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์อะไรบ้าง?
 -ถ้านักเรียนอยากให้เห็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ภายใน จะเลือกบรรจุภัณฑ์แบบใดได้บ้าง?
-ครูให้นักเรียนดูส่วนประกอบของบรรจุภัณฑ์ และวิเคราะห์ร่วมกันในประเด็น บรรจุภัณฑ์ที่ดีควรประกอบด้วยอะไรบ้าง?
-นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบและวางแผนสร้างบรรจุภัณฑ์ ที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
-นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
- นักเรียนแต่ละกลุ่มใส่ผลิตภัณฑ์ของตัวเองและตกแต่งให้สวยงาม
-นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอบรรจุภัณฑ์ พร้อมประเมินราคา
ภาระงาน
-คิดออกแบบบรรจุภัณฑ์
-เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างบรรจุภัณฑ์
-สร้างบรรจุภัณฑ์
ชิ้นงาน
-แบบร่างบรรจุภัณฑ์
-บรรจุภัณฑ์ที่เสร็จสมบูรณ์
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น










9
โจทย์ :
ทำน้ำพริกเพื่อจัดนิทรรศการ

Key Questions :
-นักเรียนจะทำน้ำพริกที่สามารถเก็บไว้ทานได้นานได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin
- Card and Chart  
- Show and Share
- Mind Mapping
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียน :
-   ผู้ปกครอง
บรรยากาศ/สื่อ :

บรรยากาศภายในห้องเรียน (จัดบรรยากาศครัวไทยสมัยก่อน)

กิจกรรม
-ผู้ปกครอง ครู นักเรียน ร่วมกันทำเมนูน้ำพริก ของแต่ละภาค และเมนูประยุกต์จากน้ำพริก และเก็บไว้เพื่อเตรียมจัดนิทรรศการ
-จัดเตรียมผลิตภัณฑ์ใส่บรรจุภัณฑ์ให้สวยงาม
-สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-ทำน้ำพริก
-ทำเมนูประยุกต์จากน้ำพริก
ชิ้นงาน
-น้ำพริกกะปิ
-น้ำพริกหนุ่ม
-น้ำพริกปลาร้า
-สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
-เข้าใจและสามารถอธิบายขั้นตอนการทำน้ำพริก ไปจนถึงการนำไปใส่บรรจุภัณฑ์และการนำไปประยุกต์ใช้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพตนเอง  และผู้อื่น












10
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้

Key Questions :
 นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarterนี้?
-นักเรียนจะถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจของตนเองไปสู่บุคคลอื่นได้อย่างไร?
สิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรปรับปรุงมีอะไรบ้าง?

เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin
- Card and Chart  
- Show and Share
- Mind Mapping
- Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียน :
-
บรรยากาศ/สื่อ :
บรรยากาศภายในห้องเรียน (จัดบรรยากาศครัวไทยสมัยก่อน)
-นิทรรศการ

กิจกรรม
-ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจของตนเองไปสู่บุคคลอื่นได้อย่างไร?
-ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
-นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมผลิตภัณฑ์น้ำพริกของตัวเองเพื่อนำเสนอ และจัดนิทรรศการ
ภาระงาน
-ร่วมออกแบบกิจกรรมสรุปองค์ความรู้หลังเรียน
ชิ้นงาน
-ชิ้นงานสรุปองค์ความรู้หลังเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
สามารถออกแบบวางแผนการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับบูรณาการหน่วย “ผ้าให้ผู้อื่นเข้าใจ ชี้ให้เห็นคุณค่า สามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และนำมาใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
- สามารถการวางแผนการนำเสนอการเรียนรู้ที่ผ่านมาให้แก่ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้ในรูปแบบที่น่าสนใจ

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ
- เคารพ
ตนเอง  และผู้อื่น
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “21 ผู้พิทักษ์น้ำพริก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2/2559


สาระ
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
สร้างฉันทะ/วางแผนการเรียนรู้
- สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping ก่อนเรียน
มาตรฐาน ว 1.2
อธิบายลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิตใกล้ตัว(ว1.2 3/1)
มาตรฐาน   2.1
สำรวจสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอก
ห้องเรียนของตนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัว
(ว2.1 3/1)

มาตรฐาน ส 2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในโรงเรียนและในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆตามกระบวนการประชาธิปไตย
(ส2.2 3/1)
มาตรฐาน ส 4.1
บอกวันเดือนปีและสามารถนับช่วงเวลาตามปฏิทินเพื่อใช้ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ลำดับเหตุการณ์ของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งที่มาได้
(ส4.1 3/1)

มาตรฐาน ง 1.1
อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเองครอบครัวและส่วนรวม
(ง1.1 3/1)
มาตรฐาน ง 2.1
-เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
(ง2.1 3/1)



มาตรฐาน   3.1
-จัดรูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสานและควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะการเคลื่อนไหวตามแบบที่กำหนด (พ3.1 5/1)
มาตรฐาน   5.1
-ปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในบ้าน โรงเรียน และการเดินทาง แสดงความช่วยเหลือบุคคลอื่นๆเมื่อเกิดเหตุร้ายหรืออุบัติเหตุแสดงวิธีการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับบาดเจ็บจากการเล่นหรือเหตุการณ์อื่นๆ
(พ5.1 3/1-3)
มาตรฐาน   1.1
-ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
-วาดภาพระบายสีชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
-วาดภาพถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อผ่าน เส้น รูปร่าง รูปทรง สี ได้ (ศ1.12/4-5)
มาตรฐาน ส 2.1
-บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นในวัฒนธรรมที่หลากหลายได้
(ส2.1 3/2)
จุดเน้นที่ 3
-ปฏิบัติตามกฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและในโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.1 3/1)

เรียนรู้ชนิดของพริก และน้ำพริก
-จำแนกชนิดของพริก
-ชิมรสชาติน้ำพริก
-เรียนรู้วัฒนธรรมในการทานน้ำพริก
-ปลูกพริก และผักสวนครัว




มาตรฐาน ว 2.2
1.สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ และอภิปรายการใช้    ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
2.2 3/1
มาตรฐาน ว 3.1  
1.  จำแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เป็นส่วนประกอบ
ของของเล่น ของใช้
3.1 3/1
2.อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิด   
3.1 3/2
มาตรฐาน ว 8.1 
      3.เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ
ที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล
8.1 3/3

มาตรฐาน ส 5.1    
3. บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน
5.1 3/3
มาตรฐาน ส 4.2     

1. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ    ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
4.2 3/1
2. สรุปลักษณะที่สำคัญของ       ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
4.2 3/2
3.  เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ   ชุมชนอื่นๆ
4.2 3/3
มาตรฐาน 1.1  
2. ใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
1.1 3/2
มาตรฐาน  พ 2.1
1.  อธิบายความสำคัญ  และความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง
2.1 3/1
2.  อธิบาย     วิธีสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
2.1 3/2
4. แสดงวิธีแปรงฟันให้สะอาดอยาง
ถูกวิธี  
4.1 3/4
มาตรฐาน ศ 1.1
8. ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ของตนเอง
1.1 3/8
มาตรฐาน  ส 2.1     
2. บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
2.1  ป 3/2


วัตถุดิบในการทำน้ำพริก กระบวนการทำน้ำพริกภาคเหนือ อีสาน กลาง ใต้

-ความแตกต่างของน้ำพริกแต่ละภาค
-ทำน้ำพริกให้น่ารับประทาน
-รับประทานกับเครื่องเคียงเพื่อเพิ่มคุณค่าทางอาหาร





มาตรฐาน ว 2.2
1.สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ และอภิปรายการใช้    ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
2.2 3/1
2.  ระบุการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่น
2.2 3/2
.  อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ    อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วม           ในการปฏิบัติ 
มาตรฐาน ว 3.1  
1.  จำแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เป็นส่วนประกอบ
ของของเล่น ของใช้
3.1 3/1
2.อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิด   
3.1 3/2

มาตรฐาน ว 3.2   
1.  ทดลองและอธิบายผล
ของการเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้นกับวัสดุ เมื่อถูกแรงกระทำ หรือทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง
3.2 3/1
2. อภิปรายประโยชน์และอันตรายที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ  
3.2 3/2
มาตรฐาน ว 8.1 
      3.เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ
ที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล
8.1 3/3
มาตรฐาน ส  1.2  
2. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญทางศาสนาตามที่กำหนดได้ถูกต้อง
1.2 3/2
มาตรฐาน ส 3.1
3.อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดมีผลต่อการผลิตและ
บริโภคสินค้าและบริการ
3.1 3/3
มาตรฐาน ส 5.2   
5. ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชน
5.2 3/5
มาตรฐาน ส 4.2     

1. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ    ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
4.2 3/1
2. สรุปลักษณะที่สำคัญของ       ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
4.2 3/2
3.  เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ   ชุมชนอื่นๆ
4.2 3/3
มาตรฐาน 1.1  
1.อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง   ครอบครัว
และส่วนรวม
1.1 3/1
3. ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน
ตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

1.1 3/3
มาตรฐาน  พ 3.2
1. เลือก         ออกกำลังกาย  การละเล่นพื้นเมือง       และเล่นเกม       ที่เหมาะสมกับจุดเด่นจุดด้อยและข้อจำกัดของตนเอง
3.2 3/1
10. บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรง ในงานการออกแบบ
สิ่งต่าง ๆ ที่มี
ในบ้านและโรงเรียน 
1.1 3/10
มาตรฐาน ศ 1.2
1. เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น
1.2 3/1
2. อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น
1.2  3/2
มาตรฐาน  ส 2.1     
2. บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
2.1  ป 3/2
การปรับปรุงและพัฒนาน้ำพริกให้อร่อย

-การวิเคราะห์รสชาติน้ำพริก
-พัฒนาน้ำพริกให้เหมาะสมกับการรับประทาน
-ทำน้ำพริกด้วยวิธีการที่หลากหลาย






มาตรฐาน ว 4.1   
1.  ทดลองและอธิบายผลของการออกแรง
ที่กระทำต่อวัตถุ
4.1 3/1
2.  ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลก และอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ
4.1 3/2
มาตรฐาน ว 8.1 
      3.เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ
ที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล
8.1 3/3
7. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำรวจตรวจสอบตามความเป็นจริง
มีแผนภาพประกอบคำอธิบาย
8.1 3/7
มาตรฐาน 1.1    
6.. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา  มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ-
ศาสนาหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน
นับถือตามที่กำหนด
1.1 3/6
มาตรฐาน ส 5.2   
1. เปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน
5.2 3/1
4. อธิบายความแตกต่างของเมืองและชนบท
5.2 3/4

มาตรฐาน ส 4.2     
3.  เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ   ชุมชนอื่นๆ
4.2 3/3
มาตรฐาน ง 2.1
2.  เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
2.1 3/2
3. มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
2.1 3/3
มาตรฐาน  พ 3.2
2. ปฏิบัติตามกฎ  กติกาและข้อตกลงของ
การออกกำลังกาย
   การเล่นเกม  การละเล่น-พื้นเมืองได้ด้วยตนเอง
3.2 3/2
มาตรฐาน ศ 1.1
8. ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ของตนเอง
1.1 3/8
มาตรฐาน  ส 2.1     
1. สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น

2.1 3/1
การรับประทานน้ำพริกกับเครื่องเคียงชนิดต่างๆ
ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ


-ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมเกี่ยวกับเรื่องอาหารของแต่ละภาคในประเทศไทย
-เลือกรับประทานเครื่องเคียงที่เหมาะสมกับน้ำพริกและให้คุณค่า
-ทดสอบคุณค่าทางโภชนาการของน้ำพริก และส่วนประกอบอื่น








มาตรฐาน ว 1.2 
1.  อภิปรายลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตใกล้ตัว      
มาตรฐาน ว 2.1  
1. สำรวจสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1.2 3/1  
มาตรฐาน 1.1    
3. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก   เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด
1.1 3/3
มาตรฐาน ส 4.2     

2. สรุปลักษณะที่สำคัญของ       ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
4.2 3/2
3.  เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ   ชุมชนอื่นๆ
4.2 3/3
มาตรฐาน ง 3.1    
1. ค้นหาข้อมูล อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ
3.1 3/1
2.  บอกวิธีดูแลและรักษาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ

3.1 3/2
มาตรฐาน พ1.1 
1.  อธิบายลักษณะและ
การเจริญ
เติบโตของร่างกายมนุษย์
1.1 3/1
มาตรฐาน พ 4.1
1.  อธิบายการติดต่อและวิธีการป้องกันการแพร่  กระจาย         ของโรค
4.1 3/1
2.  จำแนกอาหารหลัก   5 หมู่
4.1 3/2
3.  เลือกกินอาหารที่หลากหลายครบ
5 หมู่ในสัดส่วน
ที่เหมาะสม
4.1 3/5
มาตรฐาน ศ 1.1
8. ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ของตนเอง
1.1 3/8
ข้าวกับการประยุกต์เมนูน้ำพริก
-การสร้างสรรค์เมนูน้ำพริกแปลกใหม่
-การประยุกต์เมนูน้ำพริกที่เป็นผลิตภัณฑ์คู่กับข้าว
มาตรฐาน ว 2.2
1.สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ และอภิปรายการใช้    ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
2.2 3/1
2.  ระบุการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่น
2.2 3/2
.  อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ    อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วม           ในการปฏิบัติ 
มาตรฐาน 1.1    
3. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก   เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด
1.1 3/3
มาตรฐาน ส 5.2   
1. เปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน
5.2 3/1
2.  อธิบาย
การพึ่งพาสิ่งแวดล้อม
และทรัพยากร
ธรรมชาติ ในการ     สนองความ ต้องการพื้นฐานของมนุษย์
และการประกอบอาชีพ
5.2 3/2
3. อธิบายเกี่ยวกับมลพิษและการก่อ       ให้เกิดมลพิษโดยมนุษย์
5.2 3/3
4. อธิบายความแตกต่างของเมืองและชนบท
5.2 3/4
มาตรฐาน ส 4.2     

1. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ    ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
4.2 3/1
มาตรฐาน ง 2.1
2.  เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
2.1 3/2
3. มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
2.1 3/3
มาตรฐาน  พ 2.1
1.  อธิบายความสำคัญ  และความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง
2.1 3/1
2.  อธิบาย     วิธีสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
2.1 3/2
มาตรฐาน ศ 1.2
1. เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น
1.2 3/1
2. อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น
1.2  3/2
มาตรฐาน  ส 2.1     
1. สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น

2.1 3/1
2. บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
2.1  ป 3/2
อาหารว่างจากน้ำพริก
-ประยุกต์น้ำพริกเป็นของว่างทีทำได้ง่ายๆ


มาตรฐาน ว 2.2
1.สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ และอภิปรายการใช้    ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
2.2 3/1
2.  ระบุการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่น
2.2 3/2
.  อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ    อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วม           ในการปฏิบัติ 
มาตรฐาน ว 2.2
1.สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ และอภิปรายการใช้    ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
2.2 3/1
2.  ระบุการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่น
2.2 3/2
.  อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ    อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วม           ในการปฏิบัติ 
มาตรฐาน ส 5.2   
1. เปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน
5.2 3/1
2.  อธิบาย
การพึ่งพาสิ่งแวดล้อม
และทรัพยากร
ธรรมชาติ ในการ     สนองความ ต้องการพื้นฐานของมนุษย์
และการประกอบอาชีพ
5.2 3/2
3. อธิบายเกี่ยวกับมลพิษและการก่อ       ให้เกิดมลพิษโดยมนุษย์
5.2 3/3
4. อธิบายความแตกต่างของเมืองและชนบท
5.2 3/4
มาตรฐาน ส 4.2     

1. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ    ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
4.2 3/1
มาตรฐาน ง 2.1
2.  เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
2.1 3/2
3. มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
2.1 3/3
มาตรฐาน  พ 2.1
1.  อธิบายความสำคัญ  และความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง
2.1 3/1
2.  อธิบาย     วิธีสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
2.1 3/2
มาตรฐาน ศ 1.2
1. เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น
1.2 3/1
2. อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น
1.2  3/2
มาตรฐาน  ส 2.1     
1. สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น

2.1 3/1
2. บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
2.1  ป 3/2
การประกอบการจากการประยุกต์เมนูน้ำพริกการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม และการเก็บน้ำพริกให้ได้นาน
-สามารถประเมินคุณภาพของเมนูน้ำพริกให้หมาะสมกับราคา
-สามารถจำหน่ายผลิตภัณฑ์
-บรรจุภัณฑ์มีความน่าสนใจและคุ้มค่า





มาตรฐาน ว 2.2
1.สำรวจทรัพยากร
ธรรมชาติ และอภิปรายการใช้    ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ในท้องถิ่น
2.2 3/1
2.  ระบุการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่น
2.2 3/2
.  อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ    อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วม           ในการปฏิบัติ 
มาตรฐาน ว 3.1  
1.  จำแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เป็นส่วนประกอบ
ของของเล่น ของใช้
3.1 3/1
2.อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิด   
3.1 3/2

มาตรฐาน ว 3.2   
1.  ทดลองและอธิบายผล
ของการเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้นกับวัสดุ เมื่อถูกแรงกระทำ หรือทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง
3.2 3/1
2. อภิปรายประโยชน์และอันตรายที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ  
3.2 3/2
มาตรฐาน ว 4.1   
1.  ทดลองและอธิบายผลของการออกแรง
ที่กระทำต่อวัตถุ
4.1 3/1
2.  ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลก และอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ
4.1 3/2
    มาตรฐาน ว 5.1
2.   อธิบายความสำคัญของพลังงานไฟฟ้าและ เสนอวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย
5.1 3/2
มาตรฐาน ส3.2  
2. บอกความ สำคัญของภาษีและบทบาทของประชาชนในการเสียภาษี
มาตรฐาน ส 3.2 3/2   

3. อธิบายเหตุผลการแข่งขันทางการค้าที่มีผลทำให้ราคาสินค้าลดลง
มาตรฐาน ส 3.2    ป3/3
มาตรฐาน ส 4.2     

1. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ    ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
4.2 3/1
มาตรฐาน ง 2.1
1. สร้างของเล่นของใช้อย่างง่ายโดยกำหนด ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล 
ออกแบบ              โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง ๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
2.1 3/1
2.  เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
มาตรฐาน  พ 2.1
1.  อธิบายความสำคัญ  และความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง
2.1 3/1
2.  อธิบาย     วิธีสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
2.1 3/2

มาตรฐาน  พ 3.2
1. เลือก         ออกกำลังกาย  การละเล่นพื้นเมือง       และเล่นเกม       ที่เหมาะสมกับจุดเด่นจุดด้อยและข้อจำกัดของตนเอง
3.2 3/1
2. ปฏิบัติตามกฎ  กติกาและข้อตกลงของ
การออกกำลังกาย
   การเล่นเกม  การละเล่น-พื้นเมืองได้ด้วยตนเอง
3.2 3/2
มาตรฐาน ศ 1.2
1. เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น
1.2 3/1
2. อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น
1.2  3/2
มาตรฐาน  ส 2.1     
1. สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น

2.1 3/1
2. บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
2.1  ป 3/2
4. ยกตัวอย่างบุคคลซึ่งมี       ผลงานที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนและ   ท้องถิ่นของตน
2.1 3/4
ทำน้ำพริกเพื่อจัดนิทรรศการ
-ร่วมมือกับผู้ปกครองทำผลิตภัณฑ์ของห้อง เพื่อแบ่งปัน

มาตรฐาน ว 3.1  
1.  จำแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เป็นส่วนประกอบ
ของของเล่น ของใช้
3.1 3/1
2.อธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
แต่ละชนิด   
3.1 3/2

มาตรฐาน ว 3.2   
1.  ทดลองและอธิบายผล
ของการเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้นกับวัสดุ เมื่อถูกแรงกระทำ หรือทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง
3.2 3/1
2. อภิปรายประโยชน์และอันตรายที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ  
3.2 3/2
มาตรฐาน ว 4.1   
1.  ทดลองและอธิบายผลของการออกแรง
ที่กระทำต่อวัตถุ
4.1 3/1
2.  ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลก และอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ
4.1 3/2
    มาตรฐาน ว 5.1
2.   อธิบายความสำคัญของพลังงานไฟฟ้าและ เสนอวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย
5.1 3/2
มาตรฐาน ว 8.1 
      3.เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ
ที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล
8.1 3/3
7. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำรวจตรวจสอบตามความเป็นจริง
มีแผนภาพประกอบคำอธิบาย
8.1 3/7

มาตรฐาน ส 5.1    
3. บอกความสัมพันธ์ของลักษณะ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน
5.1 3/3
มาตรฐาน ส 5.2   
1. เปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปัจจุบัน
5.2 3/1
2.  อธิบาย
การพึ่งพาสิ่งแวดล้อม
และทรัพยากร
ธรรมชาติ ในการ     สนองความ ต้องการพื้นฐานของมนุษย์
และการประกอบอาชีพ
5.2 3/2

มาตรฐาน ส 4.2     

1. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ    ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน
4.2 3/1
2. สรุปลักษณะที่สำคัญของ       ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
4.2 3/2
3.  เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ   ชุมชนอื่นๆ
4.2 3/3

มาตรฐาน 1.1  
1.อธิบายวิธีการและประโยชน์
การทำงาน
เพื่อช่วยเหลือตนเอง   ครอบครัว
และส่วนรวม
1.1 3/1
2. ใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
1.1 3/2
3. ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน
ตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

1.1 3/3
มาตรฐาน ง 2.1
1. สร้างของเล่นของใช้อย่างง่ายโดยกำหนด ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล 
ออกแบบ              โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง ๒ มิติ ลงมือสร้าง และประเมินผล
2.1 3/1
2.  เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันอย่างสร้างสรรค์
2.1 3/2
3. มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
2.1 3/3

มาตรฐาน  พ 2.1
1.  อธิบายความสำคัญ  และความแตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง
2.1 3/1
2.  อธิบาย     วิธีสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
2.1 3/2

มาตรฐาน  พ 3.2
1. เลือก         ออกกำลังกาย  การละเล่นพื้นเมือง       และเล่นเกม       ที่เหมาะสมกับจุดเด่นจุดด้อยและข้อจำกัดของตนเอง
3.2 3/1
2. ปฏิบัติตามกฎ  กติกาและข้อตกลงของ
การออกกำลังกาย
   การเล่นเกม  การละเล่น-พื้นเมืองได้ด้วยตนเอง
3.2 3/2

มาตรฐาน ศ 1.1
8. ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ของตนเอง
1.1 3/8

มาตรฐาน  ส 2.1     
2. บอกพฤติกรรม
การดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม
ที่หลากหลาย
2.1  ป 3/
2

สรุปหน่วยการเรียนรู้
- เผยแพร่ความเข้าใจสู่ผู้อื่น
-Mind Mapping
-สรุปองค์ความรู้หลังการเรียน
-ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
-ประเมินตนเองสิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม






มาตรฐาน ว 2.1
สามารถอธิบายสำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองพร้อมทั้งอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมในอนาคตได้
(ว2.1 3/1)
มาตรฐาน ว 8.1
- วางแผนการสังเกตเสนอวิธีตรวจสอบศึกษาวิธีค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเอง
(ว8.1 3/2)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบบันทึกข้อมูล
(ว8.1 3/3)

- สามารถบันทึกและอธิบายผลการสังเกตสำรวจตรวจสอบโดยเขียนภาพหรือข้อความสั้นๆในการสรุปองค์ความรู้ได้
(ว8.1 3/6)
- สามารถเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้(ว8.13/7)
8.นำเสนอ จัดแสดง ผลงาน      โดยอธิบายด้วยวาจา และเขียนแสดงกระบวนการและผล       ให้ผู้อื่นเข้าใจ
ของงาน   
8.1 3/8                   
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กติกา กฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส2.1 3/1)
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นในการทำงานร่วมกัน
(ว2.1 3/4)


มาตรฐาน ส 4.2     
2. สรุปลักษณะที่สำคัญของ       ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
4.2 3/2


มาตรฐาน   1.1
- สามารถบอกวิธีทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเองในการสรุปองค์ความรู้ได้
(ง1.1 3/1)
- สามารถทำงานของตนเองอย่างกระตือรือร้นและตรงต่อเวลาได้
(ง1.1 3/3)
มาตรฐาน   2.1
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ (ง2.1 3/3)
มาตรฐาน   3.1
ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ
(ง3.1 3/1)





มาตรฐาน พ 2.1
สามารถระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองในการเป็นสมาชิกกลุ่มได้
(พ2.1 3/1)
มาตรฐาน พ 3.1
สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลงในการทำงานกลุ่มได้ (พ2.1 3/2)

มาตรฐาน ศ 2.1  
4. ขับร้องและบรรเลงดนตรีง่าย ๆ
2.1 3/4

5. เคลื่อนไหวท่าทางสอดคล้องกับอารมณ์ของเพลงที่ฟัง
2.1  3/5
มาตรฐาน ศ 3.1
3. เปรียบเทียบบทบาทหน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม
3.1 3/3
5. บอกประโยชน์ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจำวัน
     ศ 3.1 3/5
มาตรฐาน ส2.2
- เข้าใจและสามารถระบุบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (ส2.2 3/2)
-    มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นการตัดสินใจในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ส2.2 3/3)